ทำยังไงให้อ่านหนังสือได้อาทิตย์ละ 1 เล่ม?
ศาสตราจารย์ เจอรัลด์ ซอลต์แมน (Gerald Zaltman) จากฮาร์วาร์ดค้นพบว่า การตัดสินใจของคน 95% ไม่ได้มาจากตรรกะหรือการคิดอย่างมีเหตุผล แต่มาจากอารมณ์ หรือความรู้สึกที่มีต่อการกระทำนั้นๆ
เรื่องราวของ แดเนียล ลุดวิก ผู้ครองตำแหน่งมหาเศรษฐีอันดับ 1 ของอเมริกาเมื่อปี 1982 ถูกบันทึกไว้ในหนังสือกลยุทธ์ทางการค้า ’36 กลยุทธ์ธุรกิจการค้า’ เป็นแรงบันดาลใจให้กับนักธุรกิจรุ่นหลังให้กล้าฝัน กล้าลุกขึ้นมาสร้างความสำเร็จจากความไม่มีอะไรเลย ด้วยความฉลาด ความมุ่งมั่น และความไม่ยอมแพ้
บทเรียนจากหนังสือที่พูดถึงวิถีการใช้ชีวิตแบบ Stoic และสิ่งที่เราสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันให้ชีวิตของเราดีขึ้น
เป็นหนังสือที่มีข้อมูลที่ดี มีตัวอย่างที่ดี อ่านสนุกและช่วยทำให้คำว่า “ความคิดสร้างสรรค์” ไม่ได้ไกลเกินเอื้อมสำหรับคนทั่วไปอีกต่อไป
ตัวคุณคือศัตรูที่น่ากลัวที่สุดของตัวเอง โดยเฉพาะเมื่ออีโก้มันพองโตเกินตัวจนไม่สามารถอยู่ที่ไหนได้ ไม่สามารถเห็นทางข้างหน้า ทุกอย่างต้องของฉัน ฉันคือคนสำคัญ ความสำเร็จที่ได้มาฉันเป็นคนสร้างเอง
โง่ศาสตร์ : เมื่อนักเศรษฐศาสตร์ทำความเข้าใจคนโง่หนังสือโดย Carlo M. Cipolla แปลโดย สุนันทา วรรณสินธ์ เบล หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่บางที่สุดตั้งแต่ผู้เขียนได้ทำการเขียนรีวิวมา เล่มนี้มีไม่ถึง 100 หน้ารวมปกหน้าและหลังแล้ว แต่มันตราตรึงใจอย่างน่าเหลือเชื่อ
เล่มนี้เขียนโดย Matt Haig หนังสือของเขาสร้างแรงบันดาลใจให้คนมากมาย เราเคยเขียนถึงหนังสือของเขาแล้วครั้งหนึ่งในชื่อ Reason to stay alive และนี่ก็เป็นอีกครั้งที่หนังสือของ Matt ทำให้เราประจักษ์ใจกับคำว่า “ชีวิต”
หนึ่งในสิบอาชีพที่มีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้ามากที่สุดมีอาชีพนักเขียนอยู่ในนั้น หนังสือหลาย ๆ เล่มที่เขียนออกมาได้ดี ก็มักจะขูดรีดออกมาจากจิตวิญญาณที่แหลกสลาย เช่น แมตต์ เฮก นักเขียนคนหนึ่งที่ใครๆก็แนะนำให้ไปอ่านหนังสือของเขา เขาก็เป็นโรคซึมเศร้าและเขาก็เขียนเกี่ยวกับมัน เช่นกัน
หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่คนอายุมากกว่า 20 อาจจะไม่กล้าหยิบขึ้นมาอ่านเพราะว่า “รู้งี้” เป็นความรู้สึกที่น่าอึดอัดใจสำหรับบางคน และอาจจะดึงดูดให้หลายๆคนเลือกให้ลูกหลานที่อายุยังไม่ถึง 20 ปี แต่เอาจริงๆไหม หนังสือเล่มนี้ถ้าไม่หยิบมาอ่านเลยคงน่าเสียดาย