ทำยังไงให้อ่านหนังสือได้อาทิตย์ละ 1 เล่ม?
ศาสตราจารย์ เจอรัลด์ ซอลต์แมน (Gerald Zaltman) จากฮาร์วาร์ดค้นพบว่า การตัดสินใจของคน 95% ไม่ได้มาจากตรรกะหรือการคิดอย่างมีเหตุผล แต่มาจากอารมณ์ หรือความรู้สึกที่มีต่อการกระทำนั้นๆ
บทเรียนจากหนังสือที่พูดถึงวิถีการใช้ชีวิตแบบ Stoic และสิ่งที่เราสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันให้ชีวิตของเราดีขึ้น
โอกาสในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์นั้นมีอยู่ทุกที่ที่คุณตั้งคำถามให้ถูกต้อง ไอเดียใหม่สามารถเกิดขึ้นได้เสมอแม้กระทั่งป้ายชื่อธรรมดา
หยุดและถามตัวเองว่า คุณได้เรียนรู้อะไรจากความเสียดายที่เกิดขึ้นบ้าง ใช้มันเป็นตัวเร่งให้ชีวิตดำเนินไปในทางที่ดีขึ้น จำไว้ว่าความเสียดายในตัวมันเองไม่ใช่สิ่งเลวร้าย แถมยังมีโอกาสที่จะเป็นพลังแห่งการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกได้ด้วย
‘ความเสียดาย’ ในชีวิตว่ามันมีประโยชน์ยังไง ซึ่งในความเข้าใจของเราแล้วความเสียดายเป็นอารมณ์ในหมวดหมู่เชิงลบไม่พึงประสงค์ที่ทำให้โลกขุ่นมัว ไม่ต่างจากพวกความรู้สึกโกรธ แค้น เศร้า ต่างๆนานา แต่ความรู้สึก ’เสียดาย’ เป็นอารมณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยกว่าคนอื่นเขา
คนหนึ่งเห็นเป็นยุง อีกคนเห็นเป็นช้าง : เรื่องขี้ปะติ๋วบางอย่าง กลายเป็นฟางเส้นสุดท้ายของระเบิดอารมณ์
ช้างคือปัญหาที่เรียกว่าเป็น ‘ราก’ ของปัญหาทั้งหมด มันฝังอยู่ข้างใน เป็นพื้นฐานของความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง อย่างเช่นการที่คุณรู้สึกว่าไม่มีใครเห็นคุณค่าของสิ่งที่คุณทำ ความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย หรือแม้แต่การนับถือตัวเอง เรียกได้ว่าเป็นส่วนเปราะบางของจิตใจก็คงไม่ผิดนัก
ตั้งแต่เกิดจนวันสุดท้าย ไม่มีใครที่จะมีประสบการณ์เหมือนกับเรา ไม่มีใครที่จะมีมุมมองชีวิตเหมือนกับเรา โลกใบนี้ให้โอกาสที่เราจะได้เป็นตัวเองอย่างเต็มที่ เป็นของขวัญอันยิ่งใหญ่ที่ชีวิตทุกคนได้รับ
อ่านได้ครึ่งเล่มละ แนะนำเลย แบบ…ร้องว้าวในใจหลายครั้งมาก ทั้งเรื่องของความรู้สึกจนก็เหมือนกับจนจริงๆ หรือทำไมเราถึงหยุดเปรียบเทียบกับคนอื่นไม่ได้ หรือความเหลื่อมล้ำทำให้เกิดความแตกแยกทางการเมืองได้ยังไง หนังสือเล่มนี้ไม่ได้มีทางออกเรื่องความเหลื่อมล้ำ แต่เป็นหนังสือที่จะทำให้คุณเข้าใจว่าทำไมมันถึงเกิดขึ้น และเข้าใจต้นตอของความคิดที่อยู่ในหัวของเรา คนที่อินจิตวิทยาจะมันมาก คนที่สนใจประเด็นเรื่องความเหลื่อมล้ำจะเปิดโลกเลย ฟินนนน