ศาสตราจารย์ เจอรัลด์ ซอลต์แมน (Gerald Zaltman) จากฮาร์วาร์ดค้นพบว่า การตัดสินใจของคน 95% ไม่ได้มาจากตรรกะหรือการคิดอย่างมีเหตุผล แต่มาจากอารมณ์ หรือความรู้สึกที่มีต่อการกระทำนั้นๆ
หยุดและถามตัวเองว่า คุณได้เรียนรู้อะไรจากความเสียดายที่เกิดขึ้นบ้าง ใช้มันเป็นตัวเร่งให้ชีวิตดำเนินไปในทางที่ดีขึ้น จำไว้ว่าความเสียดายในตัวมันเองไม่ใช่สิ่งเลวร้าย แถมยังมีโอกาสที่จะเป็นพลังแห่งการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกได้ด้วย
ถ้าโลกไม่เห็นผลลัพธ์ของสิ่งคุณทำ คุณอยากจะถูกมองว่าเป็น ‘นักลงทุน’ ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก แต่ในความเป็นจริงมีสถิติที่แย่ที่สุดในโลกหรือเปล่า? หรือถูกมองว่าเป็นนักลงทุนที่แย่ที่สุดในโลกทั้งที่คุณเป็นคนที่เก่งที่สุด?
คนหนึ่งเห็นเป็นยุง อีกคนเห็นเป็นช้าง : เรื่องขี้ปะติ๋วบางอย่าง กลายเป็นฟางเส้นสุดท้ายของระเบิดอารมณ์
ช้างคือปัญหาที่เรียกว่าเป็น ‘ราก’ ของปัญหาทั้งหมด มันฝังอยู่ข้างใน เป็นพื้นฐานของความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง อย่างเช่นการที่คุณรู้สึกว่าไม่มีใครเห็นคุณค่าของสิ่งที่คุณทำ ความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย หรือแม้แต่การนับถือตัวเอง เรียกได้ว่าเป็นส่วนเปราะบางของจิตใจก็คงไม่ผิดนัก
ตั้งแต่เกิดจนวันสุดท้าย ไม่มีใครที่จะมีประสบการณ์เหมือนกับเรา ไม่มีใครที่จะมีมุมมองชีวิตเหมือนกับเรา โลกใบนี้ให้โอกาสที่เราจะได้เป็นตัวเองอย่างเต็มที่ เป็นของขวัญอันยิ่งใหญ่ที่ชีวิตทุกคนได้รับ
คนที่ประสบความสำเร็จในประวัติศาสตร์นั้นเป็น “essentialist’ หรือคนที่สามารถแยกแยะสิ่งที่ ‘สำคัญ’ กับ ‘ไม่สำคัญ’ ออกจากกันได้ในชีวิต
การ abuse ในครอบครัวนั้นมีหลายรูปแบบ ไม่ใช่แค่ทางร่างกายเท่านั้น นอกจากส่งผลร้ายต่อสภาพจิตใจแล้ว เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและแม้กระทั่งโรคอัลไซเมอร์ได้อย่างมากอีกด้วย
อ่านได้ครึ่งเล่มละ แนะนำเลย แบบ…ร้องว้าวในใจหลายครั้งมาก ทั้งเรื่องของความรู้สึกจนก็เหมือนกับจนจริงๆ หรือทำไมเราถึงหยุดเปรียบเทียบกับคนอื่นไม่ได้ หรือความเหลื่อมล้ำทำให้เกิดความแตกแยกทางการเมืองได้ยังไง หนังสือเล่มนี้ไม่ได้มีทางออกเรื่องความเหลื่อมล้ำ แต่เป็นหนังสือที่จะทำให้คุณเข้าใจว่าทำไมมันถึงเกิดขึ้น และเข้าใจต้นตอของความคิดที่อยู่ในหัวของเรา คนที่อินจิตวิทยาจะมันมาก คนที่สนใจประเด็นเรื่องความเหลื่อมล้ำจะเปิดโลกเลย ฟินนนน
“โรคซึมเศร้าไม่ได้เกิดขึ้นมาอย่างมั่วๆ แต่ทุกกรณีของโรคซึมเศร้าเป็นผลมาจากการกระทำและการละเว้นไม่กระทำหลายๆอย่างของผู้มีอำนาจ”
ว่ากันว่าคนใน Generation Z เหมือนถูกทำให้กลายเป็นคนที่นิยมความสมบูรณ์แบบต้องการที่จะประสบความสำเร็จตั้งแต่อายุยังน้อยและมักจะหลงทางไปสู่ความคาดหวัง ความกดดัน ความไม่ยอมผิดพลาดและเปรียบเทียบตัวเองความสมบูรณ์แบบรอบตัวตลอดเวลา “จ๋อม” ก็รู้สึกแบบนั้น จ๋อม : ก่อนอายุ 30 ฉันอยากมีบ้านมีรถและแต่งงานว่ะ ต่าย : เป็นเป้าหมายที่ดีนะ จ๋อม : เพราะถ้ามันพ้นช่วงนั้นไปแล้วเราก็จะไม่วัยรุ่นเท่าตอนนี้แล้วดิ ต่าย : คิดมากน่า สมัยนี้ 40 ก็ยังเฟี้ยว จ๋อม : เอาน่า ยังไงซะฉันก็จะมีทุกอย่างตอน 25 ให้ได้ 3 Day left ต่าย : ช่วงนี้หายไปเลย จ๋อม : เหนื่อยเหมือนจะตาย เพื่อนทำ 1 เราทำไปเลย 4 เท่า ต่าย : เห้ยยย ไหวไหมเนี่ย จ๋อม : ก็อยากทำให้ดีที่สุดนี่หว่า ต่าย : แต่แกกำลังทำอะไรที่มันเกินกำลังตัวเองอยู่นะ […]